คือ มีอุปกรณ์ส่งออก (output device) ทำหน้าที่แสดงผลจากการประมวลผล โดยนำผลที่ได้ออกจาก หน่วยความจำหลักแสดงผลให้ผู้ใช้ได้เห็นทางอุปกรณ์ส่งออก โดยมากจะแบ่งออกเป็น 2 ประเภท
1. หน่วยแสดงผลชั่วคราว (Soft Copy)
หมายถึงการแสดงผลออกมาให้ผู้ใช้ได้รับทราบในขณะนั้นแต่เมื่อเลิก
การทำงานหรือเลิกใช้แล้วผลนั้นก็จะหายไปไม่เหลือเป็นวัตถุ ให้เก็บ
ได้ถ้าต้องการเก็บผลลัพธ์นั้นก็สามารถส่งถ่ายไปเก็บในรูปของข้อมูล
ในหน่วยเก็บข้อมูลสำรองเพื่อให้สามารถใช้งานได้ในภายหลัง ได้แก่
1.1 จอภาพ (Monitor)
ใช้แสดงข้อมูลหรือผลลัพธ์ให้ผู้ใช้เห็นได้ทันที มีรูปร่างคล้ายจอภาพ
ของโทรทัศน์ บนจอภาพประกอบด้วยจุดจำนวนมาก เรียกจุดเหล่า
นั้นว่า พิกเซล (Pixel) ถ้ามีพิกเซลจำนวนมากก็จะทำให้ผู้ใช้มอง
เห็นภาพบนจอได้ชัดเจนมากขึ้นจอภาพที่ใช้ในปัจจุบันแบ่งได้เป็น
สองประเภท คือ
1.1.1 จอซีอาร์ที (Cathode Ray Tube) นิยมใช้กับเครื่อง
ไมโครคอมพิวเตอร์ส่วนมากในปัจจุบัน ใช้หลักการยิงแสงผ่านหลอด
ภาพคล้ายกับเครื่องรับโทรทัศน์
1.1.2 จอแอลซีดี (Liquid Crystal Display) นิยมใช้
เป็นจอภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์แบบพกพา เป็นจอภาพที่ใช้หลัก
การเรืองแสง เมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไปในผลึกเหลว ทำให้จอภาพ
มีความหนาไม่มาก น้ำหนักเบาและกินไฟน้อยกว่าจอภาพซีอาร์ที
]
แต่มีราคาสูงกว่า เทคโนโลยีจอแอลซีดีในปัจจุบันจะมีสองแบบคือ
Passive Matrix ซึ่งมีราคาต่ำแต่จะขาดความคมชัดและ
อาจมองไม่เห็นภาพเมื่อผู้ใช้มองจากบางมุม และ Active
Matrix หรือบางครั้งอาจเรียกว่า Thin File Transistor
(TFT)
จะให้ภาพที่คมชัดกว่าแต่จะมีราคาสูงกว่า ในปัจจุบันจอภาพแบบ
TFT เริ่มนิยมนำมาใช้แทนจอภาพ CRT มากขึ้นเรื่อย ๆ
เนื่องจากราคาเริ่มต่ำลง ในขณะที่มีข้อดีคือใช้เนื้อที่ในการวางน้อย
น้ำหนักเบา กินไฟต่ำ และมีการแผ่รังสีแม่เหล็กไฟฟ้า
ออกมาน้อยมาก
1.2 อุปกรณ์ฉายภาพ (Projector)
เป็น อุปกรณ์ที่นิยมใช้ในการเรียนการสอนหรือการประชุม เนื่องจาก
สามารถนำเสนอข้อมูลให้แก่ผู้ชมจำนวนมากเห็นพร้อม ๆ กัน
จะสูงขึ้นเมื่อจอภาพมีขนาดเล็กลง)
1.3 อุปกรณ์เสียง (Audio Output)
หน่วย แสดงเสียง ซึ่งประกอบขึ้นจาก
ลำโพง (Speaker) และการ์ดเสียง (Sound card)
เพื่อให้ผู้ใช้สามารถฟังเพลงในขณะทำงาน หรือให้เครื่อง
คอมพิวเตอร์รายงานเป็นเสียงให้ทราบเมื่อเกิดปัญหาต่าง ๆ เช่น
ไม่มีกระดาษในเครื่องพิมพ์ เป็นต้น
รวมทั้งสามารถเล่นเกมส์ที่มีเสียงประกอบได้อย่างสนุกสนาน โดย
ลำโพงจะมีหน้าที่ในการแปลง สัญญาณจากคอมพิวเตอร์ให้เป็น
เสียง เช่นเดียว กับลำโพงวิทยุ ส่วน การ์ดเสียงจะเป็นแผงวงจร
เพิ่มเติมที่นำมาเสียบกับช่องเสียบ
ลยีด้านเสียง สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภท Waveform audi
o หรือเรียกว่า Digital audio และ
MIDI (Musical Instrument Digital Interface)
2. หน่วยแสดงผลถาวร (Hard Copy)
เป็นอุปกรณ์ที่นิยมใช้กันมาก และมีให้
เลือกหลากหลายชนิดขึ้นกับคุณภาพและความละเอียดของการพิมพ์
ความเร็วในการพิมพ์
ขนาดกระดาษสูงสุดที่สามารถพิมพ์ได้ และเทคโนโลยีที่ใช้ในการ
พิมพ์
เครื่องพิมพ์สามารถแบ่งตามวิธีการพิมพ์ได้เป็นสองชนิด คือ
2.1.1 เครื่องพิมพ์ชนิดตอก (Impact printer) ใช้การ
ตอกให้คาร์บอนบนผ้าหมึกติดบนกระดาษตามรูปแบบที่ต้องการ
สามารถพิมพ์สำเนา (Copy) ครั้งละหลายชุดโดยใช้กระดาษ
คาร์บอนวางระหว่างกระดาษแต่ละแผ่น ความเร็วในการพิมพ์ของ
เครื่องพิมพ์
ประเภทนี้จะมีหน่วยเป็นบรรทัดต่อวินาที (lpm-line per
minute) ข้อเสียของเครื่องพิมพ์ชนิดนี้ก็คือ มีเสียงดังและคุณภาพ
งานพิมพ์ที่ได้จะไม่ดีนัก สามารถแบ่งเป็น 2 ชนิดย่อย คือ
2.1.1.1 เครื่องพิมพ์อักษร (Character printer)
หมายถึงเครื่องพิมพ์ดีดที่พิมพ์ครั้งละหนึ่งตัวอักษรเท่านั้น
ตัวอักษรแต่ละตัวจะถูกสร้างขึ้นจากจุดเล็ก ๆจำนวนมาก จึงสามารถ
เรียกอีกอย่างว่า เครื่องพิมพ์แบบจุด (Dot matrix printer)
นิยมใช้กับเครื่องไมโครคอมพิวเตอร์
2.1.1.2 เครื่องพิมพ์บรรทัด (Line printer)
หมายถึงเครื่องพิมพ์ที่พิมพ์ครั้งละหนึ่งบรรทัด เป็นเครื่องพิมพ์ที่ใช้
งานได้รวดเร็ว แต่จะมีราคาสูง นิยมใช้กับเครื่องคอมพิวเตอร์ขนาด
ใหญ่ หรือเครื่องพิมพ์ที่มีผู้ใช้หลายคน
2.1.2 เครื่องพิมพ์ชนิดไม่ตอก (Non impact
printer) ใช้เทคนิคการพิมพ์จากวิธีการทางเคมี ซึ่งทำให้พิมพ์ได้
เร็วและคมชัดกว่าชนิดตอก
2.1.2.2 เครื่องพิมพ์ฉีดหมึก (Inkjet Printer) ได้รับ
ความนิยมอย่างมากในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งการใช้กับ
เครื่องไมโครคอมพิวเตอร์ เนื่องจากสามารถพิมพ์สีได้ ถึงแม้จะไม่คม
ชัดเท่าเครื่องพิมพ์ชนิดเลเซอรแต่ก็คมชัดกว่าเครื่องพิมพ์ตอก
สามารถพิมพ์รูปได้คุณภาพใกล้เคียง
กับภาพถ่าย และมีราคาถูกกว่าเครื่องพิมพ์ชนิดเลเซอร์
เครื่องพิมพ์แบบฉีดหมึกในปัจจุบันจะมีคุณภาพในการพิมพ์ต่างกันไป
ตาม เทคโนโลยีการฉีดหมึกและจำนวนสีที่ใช้ โดยรุ่นที่มีราคาต่ำ
มักใช้หมึกพิมพ์สามสี คือ น้ำเงิน ( cyan) , ม่วงแดง
(magenta) และเหลือง (yellow)
ซึ่งสามารถผสมสีออกมาเป็นสีต่าง ๆ ได้ แต่จะให้คุณภาพของสีดำ
ที่ไม่ดีนัก จึงมีเครื่องพิมพ์ที่ให้คุณภาพสูงกว่า
ที่เพิ่มสีที่ 4 เข้าไปคือ สีดำ (black) เครื่องพิมพ์ฉีดหมึกใน
ปัจจุบันโดย มากจะใช้สีนี้เป็นหลัก
แต่จะมีเครื่องพิมพ์อีกระดับที่เรียกว่าเครื่องพิมพ์สำหรับภาพถ่าย
(Photo printer) ที่จะเพิ่มสีน้ำเงินอ่อน (light cyan)
และม่วงแดงอ่อน (light magenta) เป็น 6 สีเพื่อเพิ่มความ
ละเอียดในการไล่เฉดสีภาพถ่ายให้เหมือนจริงยิ่งขึ้น
และบางรุ่นก็จะมีการเพิ่มสีที่ 7 คือสีดำจางเพื่อช่วยในการพิมพ์เฉดสี
เทาเข้าไปอีก
2.1.2.3 เครื่องพิมพ์เทอร์มอล (Thermal printer) เป็น
เครื่องพิมพ์ที่ให้คุณภาพในการพิมพ์สูงสุดจะมี 2 ประเภท
คือ Thermal wax transfer ให้คุณภาพและราคาที่ต่ำกว่า
ทำงานโดยการกลิ้งริบบอนที่เคลือบแวกซ์ไปบนกระดาษ
แล้วเพิ่มความร้อนให้กับริบบอนจนแวกซ์นั้นละลายและเกาะติดอยู่
บนกระดาษ ส่วน Thermal dye transfer
ใช้หลักการเดียวกับ thermal wax แต่ใช้สีย้อมแทน wax จะเป็น
เครื่องพิมพ์ที่ให้คุณภาพสูงสุด
โดยสามารถพิมพ์ภาพสีได้ใกล้เคียงกับภาพถ่าย แต่ราคาเครื่องและ
ค่าใช้จ่ายในการพิมพ์จะสูงมาก
2.2 เครื่องพลอตเตอร์ (Plotter)
ใช้ วาดหรือเขียนภาพสำหรับงานที่ต้องการความละเอียดสูง ๆ
เนื่องจากพลอตเตอร์จะใช้ปากกาในการวาดเส้นสายต่าง ๆ
ทำให้ได้เส้นที่ต่อเนื่องกันตลอด ในขณะที่เครื่องพิมพ์ทั่วไปจะใช้วิธี
พิมพ์จุดเล็ก ๆ ประกอบขึ้นเป็นเส้น ทำให้ได้เส้นที่ไม่ต่อเนื่่องกัน
สนิท พลอตเตอร์นิยมใช้กับงานออกแบบทางสถาปัตยกรรมและ
วิศวกรรมที่ต้องการความสวยงามและความละเอียดสูง
มีให้เลือกหลากหลายชนิดโดยจะแตกต่างกันในด้านความเร็ว ขนาด
กระดาษ และจำนวนปากกาที่ใช้เขียน
ในแต่ละครั้ง มีราคาแพงกว่าเครื่องพิมพ์ธรรมดามาก
พิมพ์ได้ทั้งตัวอักษรและกราฟฟิก รวมทั้งไม่มีเสียงขณะพิมพ์ แต่มีข้อ
จำกัดคือไม่สามารถพิมพ์กระดาษสำเนา (Copy)
ได้ ความเร็วในการพิมพ์ของเครื่องพิมพ์ประเภทนี้จะมีหน่วยเป็นหน้า
ต่อนาที (PPM-page per minute) และสามารถแบ่งออกเป็น
ประเภทต่าง ๆ คือ
2.1.2.1 เครื่องพิมพ์เลเซอร์ (Laser Printer) ทำงาน
คล้ายเครื่องถ่ายเอกสาร คือใช้แสงเลเซอร์สร้างประจุไฟฟ้า
ซึ่งจะมีผลให้โทนเนอร์ (Toner) สร้างภาพที่ต้องการและพิมพ์
ภาพนั้นลงบนกระดาษ เครื่องพิมพ์เลเซอร์แต่ละรุ่น
จะแตกต่างกันในด้านความเร็วและความละเอียดของ งานพิมพ์ โดย
ปัจจุบันสามารถพิมพ์ละเอียดสูงสุดถึง 1200 จุดต่อนิ้ว (dot per
inch หรือ dpi)
อุปกรณ์ฉายภาพในปัจจุบันจะมีอยู่หลายแบบ ทั้งที่สามารถต่อ
สัญญาณจากคอมพิวเตอร์โดยตรง หรือใช้อุปกรณ์พิเศษในการวาง
ลงบนเครื่องฉายภาพข้ามศีรษะ (OverHead Projector)
ธรรมดา เหมือนกับอุปกรณ์นั้นเป็นแผ่นใส อุปกรณ์ฉายภาพจะ
มีข้อแตกต่างกันมากในเรื่องของกำลังแสงสว่าง เนื่องจากยิ่งมีกำลัง
ส่องสว่างสูงภาพที่ได้ก็จะชัดเจนมากขึ้น กำลังส่องสว่างมี
หน่วยวัดค่าอยู่ 3 แบบ คือ LUX, LUMEN และ ANSI LUMEN
โดยการวัดแบบ LUX จะวัดค่าความสว่างที่
จุดกึ่งกลางของภาพ จึงได้ค่าความสว่างสูงที่สุดเมื่อเทียบกับอีก 2
แบบ การวัดแบบ LUMEN จะแบ่งภาพออกเป็น 3 ส่วน
คือ บน กลางและล่าง และแต่ละส่วนจะถูกแบ่งออกเป็น 3 จุด คือ
ริมซ้าย กลาง และริมขวา รวมจุดภาพทั้งหมด 9 จุด
แล้วจึงใช้ค่าเฉลี่ยของความสว่างทั้ง 9 จุด คิดออกมาเป็นค่า
LUMEN ส่วนการวัดแบบ ANSI LUMEN จะมีมาตรฐาน
สูงสุด โดยใช้วิธีเดียวกับ LUMEN แต่จะกำหนดขนาดจอภาพไว้
คงที่คือ 40 นิ้ว (หากไม่กำหนดการวัดค่าความสว่าง